SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
พลังงานความร้อนใต้พิภพ
                  พลังงานความร้อนใต้พิภพ หมายถึง พลังงานความร้อนตามธรรมชาติที่ได้จากแหล่งความ
ร้อนที่ถูกกักเก็บอยู่ภายใต้ผิวโลก โดยปกติอุณหภูมิใต้ผิวโลกจะเพิ่มขึ้นตามความลึก และเมื่อยิ่งลึกลงไปถึง
ภายในใจกลางของโลก จะมีแหล่งพลังงานความร้อนมหาศาลอยู่ ความร้อนที่อยู่ใต้ผิวโลกนี้มีแรงดันสูงมาก จึง
พยายามที่จะดันตัวออกจากผิวโลกตามรอยแตกต่างๆ แหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพ มักพบในบริเวณที่
เรียกว่าจุดร้อน (hot spots) โดยบริเวณนั้นจะมีค่าการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิตามความลึก มีบริเวณที่มีการ
ไหล หรือแผ่กระจาย ของความร้อน จากภายใต้ผิวโลกขึ้นมาสู่ผิวดิน (geothermal gradient) มากกว่าปกติ
ประมาณ 1.5-5 เท่า เนื่องจากในบริเวณดังกล่าวเปลือกโลกมีการขยับตัวเคลื่อนที่ทาให้เกิดรอยแตกของชั้นหิน
สามารถแบ่งได้ดังนี้




                                        ภาพชั้นต่างๆของโลก
                     ที่มา - http://www.solcomhouse.com/images/struct.jpg

     ชั้นเปลือกโลก แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ
                 1. เปลือกโลกส่วนบน (upper crust) หรือเรียกว่า ชั้นไซอัล (sial)
                 2. เปลือกโลกส่วนล่าง (lower crust) หรือเรียกว่า ชั้นไซมา (sima)
     ชั้นแมนเทิล สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ
                 1. ชั้นแมนเทิลส่วนบน (upper mantle)
                 2. ชั้นแมนเทิลส่วนล่าง (lower mantle)
     แกนโลก สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ
                 1. แกนโลกชั้นนอก (outer core)
                 2. แกนโลกชั้นใน (inner core)
ลักษณะทั่วไปของแหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพ สามารถแบ่งเป็นลักษณะใหญ่ๆ ได้ 4 ลักษณะ
คือ
                        1. แหล่งที่เป็นไอน้า เป็นแหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพที่อยู่ใกล้กับแหล่งหิน
หลอมเหลวในระดับตื้นๆ ทาให้น้าในบริเวณนั้นได้รับพลังงานความร้อนสูงจนกระทั่งเกิดการเดือดเป็นไอน้า
ร้อน
                        2. แหล่งที่เป็นน้าร้อน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นน้าเค็ม (hot brine sources) เป็นแหล่ง
พลังงานความร้อนที่พบเห็นได้ทั่วไป มีลักษณะเป็นน้าเค็มร้อนโดยมีจะอุณหภูมิต่ากว่า 180 องศาเซลเซียส
                        3. แหล่งที่เป็นหินร้อนแห้ง แหล่งที่เป็นหินร้อนแห้ง (hot dry rock) เป็นแหล่งที่สะสม
พลังงานความร้อนในรูปของหินเนื้อแน่นโดยไม่มีน้าร้อนหรือไอน้าเกิดขึ้นเลย แหล่งลักษณะนี้จะมีค่าการ
เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิตามความลึกเกินกว่า 40 องศาเซลเซียส
                        4. แหล่งที่เป็นแมกมา (molten magma) แมกมาหรือลาวาเหลว เป็นแหล่งพลังงาน
ความร้อนที่มีค่าสูงสุดในบรรดาแหล่งพลังงานความร้อนที่กล่าวมา โดยมีอุณหภูมิสูงกว่า 650 องศาเซลเซียส
ส่วนใหญ่จะพบในแอ่งใต้ภูเขาไฟ

โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพ
            การใช้ประโยชน์จากพลังงานความร้อนใต้พิภพมีมาตั้งแต่สมัยโรมัน โดยใช้ในลักษณะของการนาน้า
ร้อนมาเพื่อการรักษาโรคและใช้ประโยชน์ภายในครัวเรือน ในยุคต่อมาได้มีการนาเอาไอน้าร้อนมาใช้ในการ
ประกอบอาหาร ใช้น้าร้อนสาหรับอาบชาระร่างกาย ใช้ล้างภาชนะ และใช้ในการบาบัดรักษาโรค การใช้
พลังงานความร้อนใต้พิภพเพื่อการผลิตไฟฟ้าเริ่มต้นขึ้นในปี 1913 ที่ประเทศอิตาลี โดยใช้พลังงานความร้อนใต้
พิภพจากแหล่งลาร์เดอเรลโล มีขนาดกาลังการผลิต 250 กิโลวัตต์ นับว่าเป็นโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้
พิภพแห่งแรกในโลกที่มีการผลิตไฟฟ้าออกมาในเชิงอุตสาหกรรม โดยในปัจจุบันได้พัฒนาและขยายเป็น
โรงไฟฟ้าขนาด 700 เมกะวัตต์ นอกจากนี้ยังมีแผนที่จะเพิ่มขนาดกาลังการผลิตมากขึ้นเป็น 1,200 เมกะวัตต์
(กลับขึ้นด้านบน)

ผลกระทบจากการใช้พลังงานความร้อนใต้พิภพ
             พลังงานความร้อนใต้พิภพ สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้หลายประการดังที่ได้กล่าวมาแล้ว อย่างไร
ก็ตามการใช้ประโยชน์จากแหล่งพลังงานความร้อนนี้ แม้จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบที่ร้ายแรงต่อสิ่งแวดล้อม แต่
ก็ควรทาการศึกษาเพื่อทาความเข้าใจและหาทางป้องกันผลกระทบที่อาจจะเกิดตามมาได้ ผลกระทบที่อาจ
เกิดขึ้นจากการใช้พลังงานความร้อนใต้พิภพสามารถสรุปได้ดังนี้
                         - ก๊าซพิษ โดยทั่วไปพลังงานความร้อนที่ได้จากแหล่งใต้พิภพ มักมีก๊าซประเภทที่ไม่
สามารถรวมตัว ซึ่งก๊าซเหล่านี้จะมีอันตรายต่อระบบการหายใจหากมีการสูดดมเข้าไป ดังนั้นจึงต้องมีวิธีกาจัด
ก๊าซเหล่านี้โดยการเปลี่ยนสภาพของก๊าซให้เป็นกรด โดยการให้ก๊าซนั้นผ่านเข้าไปในน้าซึ่งจะเกิด ปฏิกิริยาเคมี
ได้เป็นกรดซัลฟิวริกขึ้น โดยกรดนี้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
- แร่ธาตุ น้าจากแหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพในบางแหล่ง มีปริมาณแร่ธาตุต่างๆ
ละลายอยู่ในปริมาณที่สูงซึ่งการนาน้านั้นมาใช้แล้วปล่อยระบายลงไปผสมกับแหล่งน้าธรรมชาติบนผิวดินจะ
ส่งผลกระทบต่อระบบน้าผิวดินที่ใช้ในการเกษตรหรือใช้อุปโภคบริโภคได้ ดังนั้นก่อนการปล่อยน้าออกไป จึง
ควรทาการแยกแร่ธาตุต่างๆ เหล่านั้นออก โดยการทาให้ตกตะกอนหรืออาจใช้วิธีอัดน้านั้นกลับคืนสู่ใต้ผิวดินซึ่ง
ต้องให้แน่ใจว่าน้าที่อัดลงไปนั้นจะไม่ไหลไปปนกับแหล่งน้าใต้ดินธรรมชาติที่มีอยู่ ความร้อนปกติน้าจากแหล่ง
พลังงานความร้อนใต้พิภพ ที่ผ่านการใช้ประโยชน์จากระบบผลิตไฟฟ้าแล้วจะมีอุณหภูมิลดลง แต่อาจยังสูงกว่า
อุณหภูมิของน้าในแหล่งธรรมชาติเพราะยังมีความร้อนตกค้างอยู่
                         ดังนั้นก่อนการระบายน้านั้นลงสู่แหล่งน้าธรรมชาติควรทาให้น้านั้นมีอุณหภูมิเท่าหรือ
ใกล้เคียงกับอุณหภูมิของน้าในแหล่งธรรมชาติเสียก่อน โดยอาจนาไปใช้ประโยชน์อีกครั้งคือการนาไปผ่าน
ระบบการอบแห้งหรือการทาความอบอุ่นให้กับบ้านเรือน
                         - การทรุดตัวของแผ่นดิน ซึ่งการนาเอาน้าร้อนจากใต้ดินขึ้นมาใช้ ย่อมทาให้ในแหล่ง
พลังงานความร้อนนั้นเกิดการสูญเสียเนื้อมวลสารส่วนหนึ่งออกไป ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาการทรุดตัวของ
แผ่นดินขึ้นได้ ดังนั้นหากมีการสูบน้าร้อนขึ้นมาใช้ จะต้องมีการอัดน้าซึ่งอาจเป็นน้าร้อนที่ผ่านการใช้งานแล้ว
หรือน้าเย็นจากแหล่งอื่นลงไปทดแทนในอัตราเร็วที่เท่ากัน เพื่อป้องกันปัญหาการทรุดตัวของแผ่นดิน (กลับขึ้น
ด้านบน)




แหล่งข้อมูลอ้างอิง
     อชิตพล ศศิธรานุวัฒน์. (2548). วิทยาศาสตร์พลังงาน. http://science.uru.ac.th/pro_doc/doc/14.doc. 16 พฤศจิกายน 2552.

More Related Content

Viewers also liked

Beyi̇n ölümü
Beyi̇n ölümüBeyi̇n ölümü
Beyi̇n ölümüSULE AKIN
 
Cryptoperiodismo - Manual Ilustrado Para Periodistas
Cryptoperiodismo - Manual Ilustrado Para PeriodistasCryptoperiodismo - Manual Ilustrado Para Periodistas
Cryptoperiodismo - Manual Ilustrado Para PeriodistasStéphane M. Grueso
 
Libro rafael , el chef , el restaurante las recetas
Libro rafael , el chef , el restaurante las recetasLibro rafael , el chef , el restaurante las recetas
Libro rafael , el chef , el restaurante las recetasAngelaNunez90
 
Permendiknas no-20-th-2007-ttg-standar-penilaian-pendidikan
Permendiknas no-20-th-2007-ttg-standar-penilaian-pendidikanPermendiknas no-20-th-2007-ttg-standar-penilaian-pendidikan
Permendiknas no-20-th-2007-ttg-standar-penilaian-pendidikanAtikah Zahra
 
Impression expressionism
Impression expressionismImpression expressionism
Impression expressionismbenjamm22
 
kitchen Drawing
 kitchen Drawing kitchen Drawing
kitchen Drawingdezyneecole
 
An thế nao dể tranh ngộ dộc thực phẩm
An thế nao dể tranh ngộ dộc thực phẩm
An thế nao dể tranh ngộ dộc thực phẩm
An thế nao dể tranh ngộ dộc thực phẩm shallowtablewar09
 
Marco teórico (mapa conceptual)
Marco teórico (mapa conceptual)Marco teórico (mapa conceptual)
Marco teórico (mapa conceptual)Brenda Muñoz
 

Viewers also liked (14)

Beyi̇n ölümü
Beyi̇n ölümüBeyi̇n ölümü
Beyi̇n ölümü
 
Futurismo lo
Futurismo loFuturismo lo
Futurismo lo
 
Menus de eventos
Menus de eventosMenus de eventos
Menus de eventos
 
Cryptoperiodismo - Manual Ilustrado Para Periodistas
Cryptoperiodismo - Manual Ilustrado Para PeriodistasCryptoperiodismo - Manual Ilustrado Para Periodistas
Cryptoperiodismo - Manual Ilustrado Para Periodistas
 
Behavioural plan
Behavioural planBehavioural plan
Behavioural plan
 
Libro rafael , el chef , el restaurante las recetas
Libro rafael , el chef , el restaurante las recetasLibro rafael , el chef , el restaurante las recetas
Libro rafael , el chef , el restaurante las recetas
 
Permendiknas no-20-th-2007-ttg-standar-penilaian-pendidikan
Permendiknas no-20-th-2007-ttg-standar-penilaian-pendidikanPermendiknas no-20-th-2007-ttg-standar-penilaian-pendidikan
Permendiknas no-20-th-2007-ttg-standar-penilaian-pendidikan
 
Impression expressionism
Impression expressionismImpression expressionism
Impression expressionism
 
kitchen Drawing
 kitchen Drawing kitchen Drawing
kitchen Drawing
 
An thế nao dể tranh ngộ dộc thực phẩm
An thế nao dể tranh ngộ dộc thực phẩm
An thế nao dể tranh ngộ dộc thực phẩm
An thế nao dể tranh ngộ dộc thực phẩm
 
Estadistica 2
Estadistica 2Estadistica 2
Estadistica 2
 
Marco teórico (mapa conceptual)
Marco teórico (mapa conceptual)Marco teórico (mapa conceptual)
Marco teórico (mapa conceptual)
 
Ficha de Resumen
Ficha de ResumenFicha de Resumen
Ficha de Resumen
 
Ficha de Sintesis
Ficha de SintesisFicha de Sintesis
Ficha de Sintesis
 

More from thanakit553

Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12thanakit553
 
การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12thanakit553
 
Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12thanakit553
 
3 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 123 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 12thanakit553
 
Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12thanakit553
 
3 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 133 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 13thanakit553
 
3 d prainting 12
3 d prainting 123 d prainting 12
3 d prainting 12thanakit553
 
ตารางกำหนดการล่าสุด1
ตารางกำหนดการล่าสุด1ตารางกำหนดการล่าสุด1
ตารางกำหนดการล่าสุด1thanakit553
 
Educational 13 ประกาศ
Educational 13 ประกาศEducational 13 ประกาศ
Educational 13 ประกาศthanakit553
 
Educational 12 (2)
Educational 12 (2)Educational 12 (2)
Educational 12 (2)thanakit553
 
กำหนดการ58
กำหนดการ58กำหนดการ58
กำหนดการ58thanakit553
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์thanakit553
 
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์thanakit553
 
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51thanakit553
 

More from thanakit553 (20)

Robotic13
Robotic13Robotic13
Robotic13
 
Project13
Project13Project13
Project13
 
Oral13
Oral13Oral13
Oral13
 
3 d13
3 d133 d13
3 d13
 
Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12
 
การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12
 
Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12
 
3 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 123 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 12
 
Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12
 
3 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 133 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 13
 
3 d prainting 12
3 d prainting 123 d prainting 12
3 d prainting 12
 
ตารางกำหนดการล่าสุด1
ตารางกำหนดการล่าสุด1ตารางกำหนดการล่าสุด1
ตารางกำหนดการล่าสุด1
 
Educational 13 ประกาศ
Educational 13 ประกาศEducational 13 ประกาศ
Educational 13 ประกาศ
 
Educational 12 (2)
Educational 12 (2)Educational 12 (2)
Educational 12 (2)
 
กำหนดการ58
กำหนดการ58กำหนดการ58
กำหนดการ58
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
 
Img004
Img004Img004
Img004
 
Img003
Img003Img003
Img003
 
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
 

พลังงานความร้อนใต้พิภพ

  • 1. พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานความร้อนใต้พิภพ หมายถึง พลังงานความร้อนตามธรรมชาติที่ได้จากแหล่งความ ร้อนที่ถูกกักเก็บอยู่ภายใต้ผิวโลก โดยปกติอุณหภูมิใต้ผิวโลกจะเพิ่มขึ้นตามความลึก และเมื่อยิ่งลึกลงไปถึง ภายในใจกลางของโลก จะมีแหล่งพลังงานความร้อนมหาศาลอยู่ ความร้อนที่อยู่ใต้ผิวโลกนี้มีแรงดันสูงมาก จึง พยายามที่จะดันตัวออกจากผิวโลกตามรอยแตกต่างๆ แหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพ มักพบในบริเวณที่ เรียกว่าจุดร้อน (hot spots) โดยบริเวณนั้นจะมีค่าการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิตามความลึก มีบริเวณที่มีการ ไหล หรือแผ่กระจาย ของความร้อน จากภายใต้ผิวโลกขึ้นมาสู่ผิวดิน (geothermal gradient) มากกว่าปกติ ประมาณ 1.5-5 เท่า เนื่องจากในบริเวณดังกล่าวเปลือกโลกมีการขยับตัวเคลื่อนที่ทาให้เกิดรอยแตกของชั้นหิน สามารถแบ่งได้ดังนี้ ภาพชั้นต่างๆของโลก ที่มา - http://www.solcomhouse.com/images/struct.jpg ชั้นเปลือกโลก แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ 1. เปลือกโลกส่วนบน (upper crust) หรือเรียกว่า ชั้นไซอัล (sial) 2. เปลือกโลกส่วนล่าง (lower crust) หรือเรียกว่า ชั้นไซมา (sima) ชั้นแมนเทิล สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ 1. ชั้นแมนเทิลส่วนบน (upper mantle) 2. ชั้นแมนเทิลส่วนล่าง (lower mantle) แกนโลก สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ 1. แกนโลกชั้นนอก (outer core) 2. แกนโลกชั้นใน (inner core)
  • 2. ลักษณะทั่วไปของแหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพ สามารถแบ่งเป็นลักษณะใหญ่ๆ ได้ 4 ลักษณะ คือ 1. แหล่งที่เป็นไอน้า เป็นแหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพที่อยู่ใกล้กับแหล่งหิน หลอมเหลวในระดับตื้นๆ ทาให้น้าในบริเวณนั้นได้รับพลังงานความร้อนสูงจนกระทั่งเกิดการเดือดเป็นไอน้า ร้อน 2. แหล่งที่เป็นน้าร้อน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นน้าเค็ม (hot brine sources) เป็นแหล่ง พลังงานความร้อนที่พบเห็นได้ทั่วไป มีลักษณะเป็นน้าเค็มร้อนโดยมีจะอุณหภูมิต่ากว่า 180 องศาเซลเซียส 3. แหล่งที่เป็นหินร้อนแห้ง แหล่งที่เป็นหินร้อนแห้ง (hot dry rock) เป็นแหล่งที่สะสม พลังงานความร้อนในรูปของหินเนื้อแน่นโดยไม่มีน้าร้อนหรือไอน้าเกิดขึ้นเลย แหล่งลักษณะนี้จะมีค่าการ เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิตามความลึกเกินกว่า 40 องศาเซลเซียส 4. แหล่งที่เป็นแมกมา (molten magma) แมกมาหรือลาวาเหลว เป็นแหล่งพลังงาน ความร้อนที่มีค่าสูงสุดในบรรดาแหล่งพลังงานความร้อนที่กล่าวมา โดยมีอุณหภูมิสูงกว่า 650 องศาเซลเซียส ส่วนใหญ่จะพบในแอ่งใต้ภูเขาไฟ โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพ การใช้ประโยชน์จากพลังงานความร้อนใต้พิภพมีมาตั้งแต่สมัยโรมัน โดยใช้ในลักษณะของการนาน้า ร้อนมาเพื่อการรักษาโรคและใช้ประโยชน์ภายในครัวเรือน ในยุคต่อมาได้มีการนาเอาไอน้าร้อนมาใช้ในการ ประกอบอาหาร ใช้น้าร้อนสาหรับอาบชาระร่างกาย ใช้ล้างภาชนะ และใช้ในการบาบัดรักษาโรค การใช้ พลังงานความร้อนใต้พิภพเพื่อการผลิตไฟฟ้าเริ่มต้นขึ้นในปี 1913 ที่ประเทศอิตาลี โดยใช้พลังงานความร้อนใต้ พิภพจากแหล่งลาร์เดอเรลโล มีขนาดกาลังการผลิต 250 กิโลวัตต์ นับว่าเป็นโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้ พิภพแห่งแรกในโลกที่มีการผลิตไฟฟ้าออกมาในเชิงอุตสาหกรรม โดยในปัจจุบันได้พัฒนาและขยายเป็น โรงไฟฟ้าขนาด 700 เมกะวัตต์ นอกจากนี้ยังมีแผนที่จะเพิ่มขนาดกาลังการผลิตมากขึ้นเป็น 1,200 เมกะวัตต์ (กลับขึ้นด้านบน) ผลกระทบจากการใช้พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานความร้อนใต้พิภพ สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้หลายประการดังที่ได้กล่าวมาแล้ว อย่างไร ก็ตามการใช้ประโยชน์จากแหล่งพลังงานความร้อนนี้ แม้จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบที่ร้ายแรงต่อสิ่งแวดล้อม แต่ ก็ควรทาการศึกษาเพื่อทาความเข้าใจและหาทางป้องกันผลกระทบที่อาจจะเกิดตามมาได้ ผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้นจากการใช้พลังงานความร้อนใต้พิภพสามารถสรุปได้ดังนี้ - ก๊าซพิษ โดยทั่วไปพลังงานความร้อนที่ได้จากแหล่งใต้พิภพ มักมีก๊าซประเภทที่ไม่ สามารถรวมตัว ซึ่งก๊าซเหล่านี้จะมีอันตรายต่อระบบการหายใจหากมีการสูดดมเข้าไป ดังนั้นจึงต้องมีวิธีกาจัด ก๊าซเหล่านี้โดยการเปลี่ยนสภาพของก๊าซให้เป็นกรด โดยการให้ก๊าซนั้นผ่านเข้าไปในน้าซึ่งจะเกิด ปฏิกิริยาเคมี ได้เป็นกรดซัลฟิวริกขึ้น โดยกรดนี้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
  • 3. - แร่ธาตุ น้าจากแหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพในบางแหล่ง มีปริมาณแร่ธาตุต่างๆ ละลายอยู่ในปริมาณที่สูงซึ่งการนาน้านั้นมาใช้แล้วปล่อยระบายลงไปผสมกับแหล่งน้าธรรมชาติบนผิวดินจะ ส่งผลกระทบต่อระบบน้าผิวดินที่ใช้ในการเกษตรหรือใช้อุปโภคบริโภคได้ ดังนั้นก่อนการปล่อยน้าออกไป จึง ควรทาการแยกแร่ธาตุต่างๆ เหล่านั้นออก โดยการทาให้ตกตะกอนหรืออาจใช้วิธีอัดน้านั้นกลับคืนสู่ใต้ผิวดินซึ่ง ต้องให้แน่ใจว่าน้าที่อัดลงไปนั้นจะไม่ไหลไปปนกับแหล่งน้าใต้ดินธรรมชาติที่มีอยู่ ความร้อนปกติน้าจากแหล่ง พลังงานความร้อนใต้พิภพ ที่ผ่านการใช้ประโยชน์จากระบบผลิตไฟฟ้าแล้วจะมีอุณหภูมิลดลง แต่อาจยังสูงกว่า อุณหภูมิของน้าในแหล่งธรรมชาติเพราะยังมีความร้อนตกค้างอยู่ ดังนั้นก่อนการระบายน้านั้นลงสู่แหล่งน้าธรรมชาติควรทาให้น้านั้นมีอุณหภูมิเท่าหรือ ใกล้เคียงกับอุณหภูมิของน้าในแหล่งธรรมชาติเสียก่อน โดยอาจนาไปใช้ประโยชน์อีกครั้งคือการนาไปผ่าน ระบบการอบแห้งหรือการทาความอบอุ่นให้กับบ้านเรือน - การทรุดตัวของแผ่นดิน ซึ่งการนาเอาน้าร้อนจากใต้ดินขึ้นมาใช้ ย่อมทาให้ในแหล่ง พลังงานความร้อนนั้นเกิดการสูญเสียเนื้อมวลสารส่วนหนึ่งออกไป ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาการทรุดตัวของ แผ่นดินขึ้นได้ ดังนั้นหากมีการสูบน้าร้อนขึ้นมาใช้ จะต้องมีการอัดน้าซึ่งอาจเป็นน้าร้อนที่ผ่านการใช้งานแล้ว หรือน้าเย็นจากแหล่งอื่นลงไปทดแทนในอัตราเร็วที่เท่ากัน เพื่อป้องกันปัญหาการทรุดตัวของแผ่นดิน (กลับขึ้น ด้านบน) แหล่งข้อมูลอ้างอิง อชิตพล ศศิธรานุวัฒน์. (2548). วิทยาศาสตร์พลังงาน. http://science.uru.ac.th/pro_doc/doc/14.doc. 16 พฤศจิกายน 2552.